ข่าวแสดงความยินดี
INTERNATIONAL SYMPOSIUM: EXPLORATION OF THE BEST PRACTICE ZAKAT MANAGEMENT IN SOUNTHEAST ASIA
ศูนย์วิจัยวิทยาการอิสลามและมุสลิมศึกษา คณะวิทยาการอิสลาม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ร่วมกับ Institute of Zakat Research and Innovation Universiti Utara Malaysia (UUM) สหพันธรัฐมาเลเซีย จัดโครงการประชุมวิชาการระหว่างประเทศ เรื่อง “แนวทางการจัดการซะกาตอย่างยั่งยืนในภูมิภาคอาเซียน” (INTERNATIONAL SYMPOSIUM: EXPLORATION OF THE BEST PRACTICE ZAKAT MANAGEMENT IN SOUNTHEAST ASIA) เมื่อวันพุธ ที่ 15 มีนาคม 2566 เวลา 08.30 – 12.00 น. ณ ห้องประชุมอิมาม อัลบุคอรีย์ ชั้น 2 คณะวิทยาการอิสลาม โดยกิจกรรมในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อเสริมสร้างความเข้าใจและนำเสนอแนวทางการจัดการซะกาตอย่างยั่งยืนให้แก่ผู้ปฏิบัติงานด้านซะกาต นักวิจัย นักวิชาการ และผู้สนใจทั่วไป ซึ่งได้รับความสนใจจากผู้เข้าร่วมเป็นอย่างมาก จากนั้นในช่วงบ่าย ทีมนักวิจัยจากคณะวิทยาการอิสลาม ได้นำทีมคณะจาก UUM เข้าศึกษาดูงานด้านการจัดการซะกาต ณ สหกรณ์อิสลามอิบนูอัฟฟาน (สำนักงานใหญ่) โดยได้รับเกียรติจาก ผู้ช่วยศาสตราจารย์อับดุลรอชีด เจะมะ รองประธานฝ่ายพัฒนากิจการ และเจ้าหน้าที่ของสหกรณ์อิสลามอิบนูอัฟฟาน ให้การต้อนรับอย่างอบอุ่น และปิดท้ายในช่วงเย็นด้วยบรรยากาศการเที่ยวชมธรรมชาติ กับการล่องเรือชมอุโมงค์ต้นโกงกางและวิวอ่าวปัตตานี ณ ชุมชนท่องเที่ยวบางปู ปัตตานี
ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ Faculty of Islamic Sciences - คณะวิทยาการอิสลาม ม.อ.ปัตตานี | Facebook
จัดโครงการคลินิคกฎหมายอิสลามครั้งที่ 2
การประชุมทางวิชาการ พร้อมเก็บข้อมูลวิจัยเรื่องซะกาตที่คณะวิทยาการอิสลามได้ทำร่วมกับ Universiti Utara Malaysia ซึ่งมีผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธวัช นุ้ยผอม เป็นหัวหน้าทีมวิจัย
ศูนย์วิจัยวิทยาการอิสลามและมุสลิมศึกษา คณะวิทยาการอิสลาม ม.อ. กำหนดจัดกิจกรรม Research Talk ตั้งวงคุย ลุยวิจัย ใน ประเด็นการพัฒนาสังคมสูงวัย (ทุน วช.)
ศูนย์วิจัยวิทยาการอิสลามและมุสลิมศึกษา คณะวิทยาการอิสลาม ม.อ. กำหนดจัดกิจกรรม Research Talk ตั้งวงคุย ลุยวิจัย ในประเด็นการพัฒนาสังคมสูงวัย (ทุน วช.)
นำโดย รศ.ดร.อิบรอฮีม ณรงค์รักษาเขต และ ผศ.ดร.มะรอนิง สาแลมิง
วันพุธ ที่ 9 พฤศจิกายน 2565 เวลา 10.00-12.00 น. ห้องประชุมอิมามฆอซาลีย์ ชั้น 2
คณะวิทยาการอิสลาม ม.อ.
ศูนย์วิจัยวิทยาการอิสลามและมุสลิมศึกษา คณะวิทยาการอิสลาม ม.อ. กำหนดจัดกิจกรรม Research Talk ตั้งวงคุย ลุยวิจัย ในประเด็นทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (ทุน บพท.)
ศูนย์วิจัยวิทยาการอิสลามและมุสลิมศึกษา คณะวิทยาการอิสลาม ม.อ. กำหนดจัดกิจกรรม Research Talk ตั้งวงคุย ลุยวิจัย ในประเด็นทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (ทุน บพท.)
นำโดย นำโดย ดร.รุสลี นุห์ วันอังคาร ที่ 8 พฤศจิกายน 2565
เวลา 15.00 - 16.30 น. ณ ห้องประชุม QA ชั้น 2 คณะวิทยาการอิสลาม ม.อ.
ทั้งนี้ หากนักวิจัยสนใจ และมีข้อเสนอโครงการที่เข้าข่ายในแต่ละประเด็นที่จัด สามารถเข้าร่วมสนทนาวงคุยได้เลยนะคะ
โดยแจ้งชื่อเข้าร่วมได้ที่ สาว (ศุนย์วิจัยฯ) ภายในวันจันทร์ ที่ 7 พฤศจิกายน 2565
ขอเชิญชวนนักวิจัยและผู้ที่สนใจ เข้าร่วมโครงการ Research Talk ครั้งที่ 4/2565
ขอเชิญชวนนักวิจัยและผู้ที่สนใจ เข้าร่วมโครงการ Research Talk ครั้งที่ 4/2565 ภายใต้หัวข้อกิจกรรม
"KM ลูกไก่ วช." วิทยากรโดยกลุ่มนักวิจัย (ลูกไก่วช. @ม.แม่ฟ้าหลวง) "ชวนมายื่นขอทุนวิจัยปี 66" วิทยากรโดย ดร.สุรชัย ไวยวรรณจิตร (ฟูอ๊าด) ในวันอังคารที่ 13 กันยายน 2565 เวลา 13.30-16.30 น. ณ ห้องประชุมอีหม่ามอัลฆอซาลีย์ คณะวิทยาการอิสลาม
โครงการอบรม "หลักจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์" ครั้งที่ 2/2565
วช. ประกาศรับข้อเสนอกิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยและนวัตกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566 (ด้านการจัดการความรู้การวิจัยและถ่ายทอดเพื่อการใช้ประโยชน์)
สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เป็นหน่วยงานหลักในการบริหารทุนวิจัย และนวัตกรรมของประเทศโดยมุ่งเน้นผลสำเร็จจากการวิจัย ที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในมิติต่างๆ ทั้งมิติด้านวิชาการ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคมและชุมชน และด้านนโยบาย เพื่อใช้เป็นกลไกในการพัฒนาและแก้ปัญหาเร่งด่วนสำคัญของประเทศ ภายใต้ยุทธศาสตร์ที่ 2 การยกระดับสังคมและสิ่งแวดล้อม ให้มีการพัฒนาอย่างยั่งยืน สามารถแก้ไขปัญหาท้าทาย และปรับตัวได้ทันต่อพลวัตการเปลี่ยนแปลงของโลก โดยใช้วิทยาศาสตร์ การวิจัยและนวัตกรรม ทั้งนี้ เพื่อให้การบริหารทุนวิจัยและนวัตกรรมของ วช. เป็นไปตามเป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ จึงได้กำหนดกรอบการวิจัยและนวัตกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566 เพื่อเปิดรับข้อเสนอการวิจัยและนวัตกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566 ดังนี้
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การยกระดับสังคมและสิ่งแวดล้อม ให้มีการพัฒนาอย่างยั่งยืน สามารถแก้ไขปัญหาท้าทาย และปรับตัวได้ทันต่อพลวัตการเปลี่ยนแปลงของโลก โดยใช้วิทยาศาสตร์ การวิจัยและนวัตกรรม | |||||
การจัดการความรู้การวิจัยและถ่ายทอดเพื่อการใช้ประโยชน์ | |||||
1. การจัดการความรู้การวิจัยและถ่ายทอดเพื่อการใช้ประโยชน์เชิงความมั่นคง 2. การจัดการความรู้การวิจัยและถ่ายทอดเพื่อการใช้ประโยชน์เชิงชุมชน สังคม 3. การจัดการความรู้การวิจัยและถ่ายทอดเพื่อการพัฒนาชุมชนพึ่งตนเองตามแนวพระราชดำริ 4. การจัดการความรู้การวิจัยและถ่ายทอดเพื่อการใช้ประโยชน์เชิงนโยบายสาธารณะ |
ผู้สนใจสามารถยื่นข้อเสนอในระบบ NRIIS
ตั้งแต่วันที่ 12 มิถุนายน 2565 - 11 สิงหาคม 2565 เวลา 18.00 น.
* นักวิจัยและผู้ร่วมวิจัยทุกคน ต้องยืนยันการเข้าร่วมการทำวิจัย ภายในวันที่ 11 สิงหาคม 2565 เวลา 18.00 น.
** หน่วยงานต้นสังกัดของนักวิจัย ต้องรับรองข้อเสนอการวิจัยและนวัตกรรม ภายในวันที่ 18 สิงหาคม 2565 เวลา 18.00 น.
*** วช. จะประกาศผลการพิจารณาข้อเสนอการวิจัยและนวัตกรรมที่ผ่านการพิจารณาเบื้องต้นทางเว็บไซต์ www.nrct.go.th และ https://nriis.go.th
Download เอกสารประกาศที่เกี่ยวข้อง
1.ประกาศรับข้อเสนอการวิจัยและนวัตกรรม 2566
2.ขอบเขตการวิจัย-การจัดการความรู้การวิจัย (KM)
สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) เปิดรับข้อเสนอการวิจัยและนวัตกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566
สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เป็นหน่วยงานหลักในการบริหารทุนวิจัย และนวัตกรรมของประเทศโดยมุ่งเน้นผลสำเร็จจากการวิจัย ที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในมิติต่างๆ ทั้งมิติด้านวิชาการ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคมและชุมชน และด้านนโยบาย เพื่อใช้เป็นกลไกในการพัฒนาและแก้ปัญหาเร่งด่วนสำคัญของประเทศ ภายใต้ยุทธศาสตร์ที่ 2 การยกระดับสังคมและสิ่งแวดล้อม ให้มีการพัฒนาอย่างยั่งยืน สามารถแก้ไขปัญหาท้าทาย และปรับตัวได้ทันต่อพลวัตการเปลี่ยนแปลงของโลก โดยใช้วิทยาศาสตร์ การวิจัยและนวัตกรรม และยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนากำลังคนและสถาบันด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมให้เป็นฐานการขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศแบบก้าวกระโดดและอย่างยั่งยืน โดยใช้วิทยาศาสตร์ การวิจัยและนวัตกรรม ทั้งนี้ เพื่อให้การบริหารทุนวิจัยและนวัตกรรมของ วช. เป็นไปตามเป้าประสงค์ของทั้ง 2 ยุทธศาสตร์ จึงได้กำหนดกรอบการวิจัยและนวัตกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566 เพื่อเปิดรับข้อเสนอการวิจัยและนวัตกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566 ดังนี้
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การยกระดับสังคมและสิ่งแวดล้อม ให้มีการพัฒนาอย่างยั่งยืน สามารถแก้ไขปัญหาท้าทายและปรับตัวได้ทันต่อพลวัตการเปลี่ยนแปลงของโลก โดยใช้วิทยาศาสตร์ การวิจัยและนวัตกรรม | |||||
| |||||
| |||||
| |||||
| |||||
| |||||
| |||||
| |||||
ยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนากำลังคนและสถาบันด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ให้เป็นฐานการขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศแบบก้าวกระโดดและอย่างยั่งยืน โดยใช้วิทยาศาสตร์ การวิจัยและนวัตกรรม | |||||
|
ผู้สนใจสามารถยื่นข้อเสนอในระบบ NRIIS
ตั้งแต่วันที่ 12 มิถุนายน 2565 - 11 สิงหาคม 2565 ภายในเวลา 18.00 น.
วช. ประกาศรับข้อเสนอกิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยและนวัตกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566 (ด้านการจัดการความรู้การวิจัยและถ่ายทอดเพื่อการใช้ประโยชน์)
สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เป็นหน่วยงานหลักในการบริหารทุนวิจัย และนวัตกรรมของประเทศโดยมุ่งเน้นผลสำเร็จจากการวิจัย ที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในมิติต่างๆ ทั้งมิติด้านวิชาการ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคมและชุมชน และด้านนโยบาย เพื่อใช้เป็นกลไกในการพัฒนาและแก้ปัญหาเร่งด่วนสำคัญของประเทศ ภายใต้ยุทธศาสตร์ที่ 2 การยกระดับสังคมและสิ่งแวดล้อม ให้มีการพัฒนาอย่างยั่งยืน สามารถแก้ไขปัญหาท้าทาย และปรับตัวได้ทันต่อพลวัตการเปลี่ยนแปลงของโลก โดยใช้วิทยาศาสตร์ การวิจัยและนวัตกรรม ทั้งนี้ เพื่อให้การบริหารทุนวิจัยและนวัตกรรมของ วช. เป็นไปตามเป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ จึงได้กำหนดกรอบการวิจัยและนวัตกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566 เพื่อเปิดรับข้อเสนอการวิจัยและนวัตกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566 ดังนี้
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การยกระดับสังคมและสิ่งแวดล้อม ให้มีการพัฒนาอย่างยั่งยืน สามารถแก้ไขปัญหาท้าทาย และปรับตัวได้ทันต่อพลวัตการเปลี่ยนแปลงของโลก โดยใช้วิทยาศาสตร์ การวิจัยและนวัตกรรม | |||||
การจัดการความรู้การวิจัยและถ่ายทอดเพื่อการใช้ประโยชน์ | |||||
1. การจัดการความรู้การวิจัยและถ่ายทอดเพื่อการใช้ประโยชน์เชิงความมั่นคง 2. การจัดการความรู้การวิจัยและถ่ายทอดเพื่อการใช้ประโยชน์เชิงชุมชน สังคม 3. การจัดการความรู้การวิจัยและถ่ายทอดเพื่อการพัฒนาชุมชนพึ่งตนเองตามแนวพระราชดำริ 4. การจัดการความรู้การวิจัยและถ่ายทอดเพื่อการใช้ประโยชน์เชิงนโยบายสาธารณะ |
ผู้สนใจสามารถยื่นข้อเสนอในระบบ NRIIS
ตั้งแต่วันที่ 12 มิถุนายน 2565 - 11 สิงหาคม 2565 เวลา 18.00 น.
* นักวิจัยและผู้ร่วมวิจัยทุกคน ต้องยืนยันการเข้าร่วมการทำวิจัย ภายในวันที่ 11 สิงหาคม 2565 เวลา 18.00 น.
** หน่วยงานต้นสังกัดของนักวิจัย ต้องรับรองข้อเสนอการวิจัยและนวัตกรรม ภายในวันที่ 18 สิงหาคม 2565 เวลา 18.00 น.
*** วช. จะประกาศผลการพิจารณาข้อเสนอการวิจัยและนวัตกรรมที่ผ่านการพิจารณาเบื้องต้นทางเว็บไซต์ www.nrct.go.th และ https://nriis.go.th
Download เอกสารประกาศที่เกี่ยวข้อง
1.ประกาศรับข้อเสนอการวิจัยและนวัตกรรม 2566
2.ขอบเขตการวิจัย-การจัดการความรู้การวิจัย (KM)
สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) เปิดรับข้อเสนอการวิจัยและนวัตกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566
สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เป็นหน่วยงานหลักในการบริหารทุนวิจัย และนวัตกรรมของประเทศโดยมุ่งเน้นผลสำเร็จจากการวิจัย ที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในมิติต่างๆ ทั้งมิติด้านวิชาการ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคมและชุมชน และด้านนโยบาย เพื่อใช้เป็นกลไกในการพัฒนาและแก้ปัญหาเร่งด่วนสำคัญของประเทศ ภายใต้ยุทธศาสตร์ที่ 2 การยกระดับสังคมและสิ่งแวดล้อม ให้มีการพัฒนาอย่างยั่งยืน สามารถแก้ไขปัญหาท้าทาย และปรับตัวได้ทันต่อพลวัตการเปลี่ยนแปลงของโลก โดยใช้วิทยาศาสตร์ การวิจัยและนวัตกรรม และยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนากำลังคนและสถาบันด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมให้เป็นฐานการขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศแบบก้าวกระโดดและอย่างยั่งยืน โดยใช้วิทยาศาสตร์ การวิจัยและนวัตกรรม ทั้งนี้ เพื่อให้การบริหารทุนวิจัยและนวัตกรรมของ วช. เป็นไปตามเป้าประสงค์ของทั้ง 2 ยุทธศาสตร์ จึงได้กำหนดกรอบการวิจัยและนวัตกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566 เพื่อเปิดรับข้อเสนอการวิจัยและนวัตกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566 ดังนี้
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การยกระดับสังคมและสิ่งแวดล้อม ให้มีการพัฒนาอย่างยั่งยืน สามารถแก้ไขปัญหาท้าทายและปรับตัวได้ทันต่อพลวัตการเปลี่ยนแปลงของโลก โดยใช้วิทยาศาสตร์ การวิจัยและนวัตกรรม | |||||
| |||||
| |||||
| |||||
| |||||
| |||||
| |||||
| |||||
ยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนากำลังคนและสถาบันด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ให้เป็นฐานการขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศแบบก้าวกระโดดและอย่างยั่งยืน โดยใช้วิทยาศาสตร์ การวิจัยและนวัตกรรม | |||||
|
ผู้สนใจสามารถยื่นข้อเสนอในระบบ NRIIS
ตั้งแต่วันที่ 12 มิถุนายน 2565 - 11 สิงหาคม 2565 ภายในเวลา 18.00 น.
ขอเรียนเชิญนักวิจัยเข้าร่วมโครงการ Journal Club ภายใต้กิจกรรม Workshop : "Mastering the Art of Publishing in International Journals"
INTERNATIONAL SYMPOSIUM: EXPLORATION OF THE BEST PRACTICE ZAKAT MANAGEMENT IN SOUNTHEAST ASIA
ศูนย์วิจัยวิทยาการอิสลามและมุสลิมศึกษา คณะวิทยาการอิสลาม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ร่วมกับ Institute of Zakat Research and Innovation Universiti Utara Malaysia (UUM) สหพันธรัฐมาเลเซีย จัดโครงการประชุมวิชาการระหว่างประเทศ เรื่อง “แนวทางการจัดการซะกาตอย่างยั่งยืนในภูมิภาคอาเซียน” (INTERNATIONAL SYMPOSIUM: EXPLORATION OF THE BEST PRACTICE ZAKAT MANAGEMENT IN SOUNTHEAST ASIA) เมื่อวันพุธ ที่ 15 มีนาคม 2566 เวลา 08.30 – 12.00 น. ณ ห้องประชุมอิมาม อัลบุคอรีย์ ชั้น 2 คณะวิทยาการอิสลาม โดยกิจกรรมในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อเสริมสร้างความเข้าใจและนำเสนอแนวทางการจัดการซะกาตอย่างยั่งยืนให้แก่ผู้ปฏิบัติงานด้านซะกาต นักวิจัย นักวิชาการ และผู้สนใจทั่วไป ซึ่งได้รับความสนใจจากผู้เข้าร่วมเป็นอย่างมาก จากนั้นในช่วงบ่าย ทีมนักวิจัยจากคณะวิทยาการอิสลาม ได้นำทีมคณะจาก UUM เข้าศึกษาดูงานด้านการจัดการซะกาต ณ สหกรณ์อิสลามอิบนูอัฟฟาน (สำนักงานใหญ่) โดยได้รับเกียรติจาก ผู้ช่วยศาสตราจารย์อับดุลรอชีด เจะมะ รองประธานฝ่ายพัฒนากิจการ และเจ้าหน้าที่ของสหกรณ์อิสลามอิบนูอัฟฟาน ให้การต้อนรับอย่างอบอุ่น และปิดท้ายในช่วงเย็นด้วยบรรยากาศการเที่ยวชมธรรมชาติ กับการล่องเรือชมอุโมงค์ต้นโกงกางและวิวอ่าวปัตตานี ณ ชุมชนท่องเที่ยวบางปู ปัตตานี
ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ Faculty of Islamic Sciences - คณะวิทยาการอิสลาม ม.อ.ปัตตานี | Facebook
จัดโครงการคลินิคกฎหมายอิสลามครั้งที่ 2
การประชุมทางวิชาการ พร้อมเก็บข้อมูลวิจัยเรื่องซะกาตที่คณะวิทยาการอิสลามได้ทำร่วมกับ Universiti Utara Malaysia ซึ่งมีผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธวัช นุ้ยผอม เป็นหัวหน้าทีมวิจัย
ศูนย์วิจัยวิทยาการอิสลามและมุสลิมศึกษา คณะวิทยาการอิสลาม ม.อ. กำหนดจัดกิจกรรม Research Talk ตั้งวงคุย ลุยวิจัย ใน ประเด็นการพัฒนาสังคมสูงวัย (ทุน วช.)
ศูนย์วิจัยวิทยาการอิสลามและมุสลิมศึกษา คณะวิทยาการอิสลาม ม.อ. กำหนดจัดกิจกรรม Research Talk ตั้งวงคุย ลุยวิจัย ในประเด็นการพัฒนาสังคมสูงวัย (ทุน วช.)
นำโดย รศ.ดร.อิบรอฮีม ณรงค์รักษาเขต และ ผศ.ดร.มะรอนิง สาแลมิง
วันพุธ ที่ 9 พฤศจิกายน 2565 เวลา 10.00-12.00 น. ห้องประชุมอิมามฆอซาลีย์ ชั้น 2
คณะวิทยาการอิสลาม ม.อ.
ศูนย์วิจัยวิทยาการอิสลามและมุสลิมศึกษา คณะวิทยาการอิสลาม ม.อ. กำหนดจัดกิจกรรม Research Talk ตั้งวงคุย ลุยวิจัย ในประเด็นทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (ทุน บพท.)
ศูนย์วิจัยวิทยาการอิสลามและมุสลิมศึกษา คณะวิทยาการอิสลาม ม.อ. กำหนดจัดกิจกรรม Research Talk ตั้งวงคุย ลุยวิจัย ในประเด็นทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (ทุน บพท.)
นำโดย นำโดย ดร.รุสลี นุห์ วันอังคาร ที่ 8 พฤศจิกายน 2565
เวลา 15.00 - 16.30 น. ณ ห้องประชุม QA ชั้น 2 คณะวิทยาการอิสลาม ม.อ.
ทั้งนี้ หากนักวิจัยสนใจ และมีข้อเสนอโครงการที่เข้าข่ายในแต่ละประเด็นที่จัด สามารถเข้าร่วมสนทนาวงคุยได้เลยนะคะ
โดยแจ้งชื่อเข้าร่วมได้ที่ สาว (ศุนย์วิจัยฯ) ภายในวันจันทร์ ที่ 7 พฤศจิกายน 2565
ขอเชิญชวนนักวิจัยและผู้ที่สนใจ เข้าร่วมโครงการ Research Talk ครั้งที่ 4/2565
ขอเชิญชวนนักวิจัยและผู้ที่สนใจ เข้าร่วมโครงการ Research Talk ครั้งที่ 4/2565 ภายใต้หัวข้อกิจกรรม
"KM ลูกไก่ วช." วิทยากรโดยกลุ่มนักวิจัย (ลูกไก่วช. @ม.แม่ฟ้าหลวง) "ชวนมายื่นขอทุนวิจัยปี 66" วิทยากรโดย ดร.สุรชัย ไวยวรรณจิตร (ฟูอ๊าด) ในวันอังคารที่ 13 กันยายน 2565 เวลา 13.30-16.30 น. ณ ห้องประชุมอีหม่ามอัลฆอซาลีย์ คณะวิทยาการอิสลาม
โครงการอบรม "หลักจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์" ครั้งที่ 2/2565
ข่าวแสดงความยินดี
ขอแสดงความยินดีกับผู้วิจัยที่ได้รับทุนสนับสนุนโครงการวิจัยประเภททุน : ทุนอุดหนุนการวิจัยและนวัตกรรม ทุนพัฒนาศักยภาพในการทํางานวิจัยของอาจารย์รุ่นใหม่ ประจําปีงบประมาณ 2566
โครงการที่
10 ของปี 66 คณะวิทยาการอิสลาม
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
ขอแสดงความยินดีกับผู้วิจัยที่ได้รับทุนสนับสนุนโครงการวิจัย
ผู้วิจัย : Dr.Mohamed
Soliman Mohamed Soliman
ประเภททุน :
ทุนอุดหนุนการวิจัยและนวัตกรรม
ทุนพัฒนาศักยภาพในการทํางานวิจัยของอาจารย์รุ่นใหม่ ประจําปีงบประมาณ 2566
แหล่งทุน :
สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
ประจำปีงบประมาณ : 2566
ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ #โครง... - Faculty of Islamic Sciences - คณะวิทยาการอิสลาม ม.อ.ปัตตานี | Facebook
ขอแสดงความยินดีกับคณะผู้วิจัยที่ได้รับทุนสนับสนุนโครงการวิจัย ชื่อโครงการ “การพัฒนากลไกขับเคลื่อนเทศบาลเมืองปัตตานีสู่การเป็นเมืองแห่งการเรียนรู้บนฐานทุนวัฒนธรรม” ภายใต้กรอบการวิจัย “การยกระดับและขับเคลื่อนเมืองแห่งการเรียนรู้ (Learning City)”
โครงการที่9ของปี66 คณะวิทยาการอิสลาม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ขอแสดงความยินดีกับคณะผู้วิจัยที่ได้รับทุนสนับสนุนโครงการวิจัย ชื่อโครงการ “การพัฒนากลไกขับเคลื่อนเทศบาลเมืองปัตตานีสู่การเป็นเมืองแห่งการเรียนรู้บนฐานทุนวัฒนธรรม” ภายใต้กรอบการวิจัย “การยกระดับและขับเคลื่อนเมืองแห่งการเรียนรู้ (Learning City)” ที่ปรึกษาโครงการ รศ.ดร.ซุกรี หะยีสาแม คณะผู้วิจัย (1) ผศ.ดร.มูฮัมหมัดอาฟีฟี อัซซอลีฮีย์ (หัวหน้าโครงการวิจัย) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิทยาการอิสลาม (2) ผศ.ดร.สุไม บิลไบ (ผู้ร่วมวิจัย) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิทยาการอิสลาม (3) ดร.นุรซีตา เพอแสละ (ผู้ร่วมวิจัย) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิทยาการอิสลาม (4) ดร.รูดียะห์ หะ (ผู้ร่วมวิจัย) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิทยาการอิสลาม (5) ดร.หมะหมูด หะยีหมัด (ผู้ร่วมวิจัย) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิทยาการอิสลาม (6) นางศิรินยา สาอิ (ผู้ร่วมวิจัย) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิทยาการอิสลาม แหล่งทุน หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.) ประจำปีงบประมาณ 2566 เริ่มดำเนินโครงการ เมษายน 2566 – เมษายน 2567
ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ #โครง... - Faculty of Islamic Sciences - คณะวิทยาการอิสลาม ม.อ.ปัตตานี | Facebook
รางวัลเชิดชูเกียรติในงาน คุณค่าสงขลานครินทร์ ประจำปี 2566 (PRIDE OF PSU 2023) ประเภท ประเภทรางวัล: รางนักวิจัยที่ผลงานวิจัยนำไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์/นโยบาย/ชุมชนและสังคม ประจำปี 2565
คณะวิทยาการอิสลาม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
ขอแสดงความยินดี กับบุคลากรของคณะที่ได้รับรางวัลเชิดชูเกียรติในงาน
คุณค่าสงขลานครินทร์ ประจำปี 2566
(PRIDE OF PSU 2023)
ประเภทรางวัล:
รางนักวิจัยที่ผลงานวิจัยนำไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์/นโยบาย/ชุมชนและสังคม
ประจำปี 2565
ชื่อรางวัล:
การนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ในการแก้ไขปัญหาคนไทยไร้สถานะทางทะเบียนราษฎรในจังหวัดชายแดนภาคใต้
ชื่อผลงาน: โครงการศึกษาวิจัยและสำรวจข้อมูลการแก้ไขปัญหาคนไทยไร้สัญชาติในจังหวัดชายแดนภาคใต้
ซึ่งมีผู้ร่วมวิจัย จำนวน 5
ท่าน ได้แก่
รองศาสตราจารย์ ดร.อิบรอฮีม ณรงค์รักษาเขต
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อีสมาแอ กาเต๊ะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สราวุธ สายทอง
นายซัยนูรดีน นิมา
นายรอกิ เจ๊ะเต้
ชื่อผลงาน:
รูปแบบการปรับใช้แนวทางสายกลางตามหลักการศาสนาอิสลามในบริบทสังคมพหุวัฒนธรรมจังหวัดชายแดนภาคใต้
ซึ่งมีผู้ร่วมวิจัย จำนวน 3
ท่าน ได้แก่
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อีสมาแอ กาเต๊ะ (คณะวิทยาการอิสลาม)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ไพซอล ดาโอ๊ะ (คณะรัฐศาสตร์)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นุมาน หะยีมะแซ (คณะมนุษยศาสตร์ฯ)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ซัมซู สาอุ จำนวน 2 ผลงาน
ชื่อผลงาน:
- การพัฒนาโปรแกรมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่อง
Digital Quotient แบบบูรณาการอิสลาม
- การพัฒนาสมรรถนะการ
รู้เท่าทันสื่อแบบบูรณาการอิสลามเพื่อป้องกันการรังแกในโลกไซเบอร์สำหรับครูมัธยมศึกษาในจังหวัดปัตตานี
- ประสิทธิภาพ
และประสิทธิผลของสื่อที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอนรู้เท่าทันสื่อกรณี
ศึกษาการพัฒนาสื่อคลิปวีดิโอรู้เท่าทันสื่อ
ชื่อผลงาน:
การพัฒนาโปรแกรมฮิกมะฮฺอย่างมีส่วนร่วมเพื่อส่งเสริมสุขภาวะแบบอุมมะฮฺสำหรับเยาวชนชายในจังหวัดชายแดนภาคใต้
ขออัลลอฮฺทรงโปรดประทานความบะเราะกะฮฺให้ทุกท่านด้วยเทอญ
อามีน
ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ คณะวิ... - Faculty of Islamic Sciences - คณะวิทยาการอิสลาม ม.อ.ปัตตานี | Facebook
รางวัลเชิดชูเกียรติในงาน คุณค่าสงขลานครินทร์ ประจำปี 2566 (PRIDE OF PSU 2023) ประเภท ประเภทรางวัล: นักวิจัยที่ได้รับรางวัลจากการนำเสนอผลงานระดับนานาชาติ ประจำปี 2565
ประเภทรางวัล:
นักวิจัยที่ได้รับรางวัลจากการนำเสนอผลงานระดับนานาชาติ ประจำปี 2565
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รุชดี ตาเห
ชื่อรางวัล: The
paper was among the five research papers winning the symposium award
ชื่อผลงาน: แบบแผนของผู้ที่นับถือศาสนาอิสลามในตะวันออกเฉียงใต้(ประเทศไทย)
ประเภทรางวัล:
นักวิจัยที่ได้รับรางวัลจากการนำเสนอผลงานระดับชาติ ประจำปี 2565 ซึ่งมีคณาจารย์จำนวน 3 ท่าน ได้แก่
ชื่อรางวัล: การนำเสนอผลงานวิจัยภาคบรรยาย ระดับดีเด่น
ดร.นิอาบาดี มิง
ชื่อผลงาน: ศึกษารูปแบบการนิพนธ์ฟิกฮ์มุอามะลาตร่วมสมัย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธวัช นุ้ยผอม
ชื่อผลงาน:
ศึกษารูปแบบการเก็บซะกาตโดยคณะกรรมการมัสยิดในจังหวัดสตูลและผลต่อการจัดการซะกาตในประเทศไทย
ชื่อรางวัล: รางวัลการนำเสนอผลงานยอดเยี่ยม ประจำห้อง SHA-Social Sciences, Humanities & Art
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มูฮัมหมัดอาฟีฟี อัซซอลีฮีย์
ชื่อผลงาน:
โครงการวิจัยอิสลามศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงในศตวรรษที่ 21
ขออัลลอฮฺทรงโปรดประทานความบะเราะกะฮฺให้ทุกท่านด้วยเทอญ อามีน
ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ คณะวิ... - Faculty of Islamic Sciences - คณะวิทยาการอิสลาม ม.อ.ปัตตานี | Facebook
รางวัลเชิดชูเกียรติในงาน คุณค่าสงขลานครินทร์ ประจำปี 2566 (PRIDE OF PSU 2023) ประเภท รางวัลนักวิจัยดีเด่นคณะ/วิทยาลัย ประจำปี 2565
คณะวิทยาการอิสลาม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ขอแสดงความยินดีกับคณะผู้วิจัยที่ได้รับทุนสนับสนุนโครงการวิจัยเรื่อง “สุนทรียภาพปลายด้ามขวาน: “อนาซีด” เครื่องมือแสดงอัตลักษณ์ศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยชายแดนใต้”
ขอแสดงความยินดี ผศ.ดร.มูฮัมหมัดอาฟีฟี อัซซอลีฮีย์ คณะวิทยาการอิสลาม และ ผศ.ดร.ยุโสบ บุญสุข คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ที่บทความวิจัยได้รับการตีพิมพ์ในวารสารScopus, Quartile 3
คณะวิทยาการอิสลาม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ขอแสดงความยินดีกับคณะผู้วิจัยที่ได้รับทุนสนับสนุนโครงการวิจัยเรื่อง “โครงการพัฒนาระบบและเพิ่มประสิทธิภาพการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทครอบครัวและมรดกตามบทบัญญัติแห่งศาสนาอิสลามในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้”
คณะวิทยาการอิสลาม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
วิทยาเขตปัตตานี
ขอแสดงความยินดีกับคณะผู้วิจัยที่ได้รับทุนสนับสนุนโครงการวิจัยเรื่อง “โครงการพัฒนาระบบและเพิ่มประสิทธิภาพการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทครอบครัวและมรดกตามบทบัญญัติแห่งศาสนาอิสลามในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้”
คณะผู้วิจัย
(1) ผศ.ดร.มะรอนิง
สาแลมิง (หัวหน้าโครงการวิจัย) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิทยาการอิสลาม
(2) ผศ.ดร.อะห์มัด
ยี่สุ่นทรง (ผู้ร่วมวิจัย) มหาวิทยาลัยฟาฏอนี
(3) ผศ.ดร.ฆอซาลี
เบ็ญหมัด (ผู้ร่วมวิจัย) มหาวิทยาลัยฟาฏอนี
(4) นายรอกิ
เจ๊ะเต้ (ผู้ร่วมวิจัย) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิทยาการอิสลาม
แหล่งทุน กระทรวงยุติธรรม
ประจำปีงบประมาณ 2565
อ่านข่าวบนเว็บไซต์ fais.psu.ac.th/news/ขอแสดงความยินดีคณะผู้วิจัยที่ได้รับทุนสนับสนุนโครงการวิจัย-โครงการที่-7-ปีงบประมาณ-2565
คณะวิทยาการอิสลาม
ช่องทางการติดตาม
Facebook : https://www.facebook.com/FAIS.PSU.PN
Instagram : https://www.instagram.com/faispsu/
Website : https://fais.psu.ac.th/
คณะวิทยาการอิสลาม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ขอแสดงความยินดี ดร.นุรซีตา เพอแสละ อาจารย์ประจำหลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนอิสลามศึกษา ได้รับทุนสนับสนุนโครงการวิจัย "ทุนพัฒนาศักยภาพในการทำงานวิจัยของอาจารย์รุ่นใหม่"
คณะวิทยาการอิสลาม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
วิทยาเขตปัตตานี ขอแสดงความยินดี
ดร.นุรซีตา เพอแสละ
อาจารย์ประจำหลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนอิสลามศึกษา
ได้รับทุนสนับสนุนโครงการวิจัย
"ทุนพัฒนาศักยภาพในการทำงานวิจัยของอาจารย์รุ่นใหม่"
โครงการวิจัยเรื่อง
“อิทธิพลของบุคลิกภาพห้าองค์ประกอบต่อรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานและการให้ข้อมูลย้อนกลับที่คาดหวัง:
กรณีศึกษา นักศึกษาปริญญาตรีในจังหวัดปัตตานี”
แหล่งทุน
"สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์ วิจัย เเละนวัตกรรม"
ดูข่าวบนเว็บไซต์ fais.psu.ac.th/news/ขอแสดงความยินดี-ดร-นุรซีตา-เพอแสละ-ได้รับทุนสนับสนุนโครงการวิจัย-โครงการที่-6-ปีงบประมาณ-2565
คณะวิทยาการอิสลาม
ช่องทางการติดตาม
Facebook : https://www.facebook.com/FAIS.PSU.PN
Instagram : https://www.instagram.com/faispsu/
คณะวิทยาการอิสลาม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ขอแสดงความยินดีกับคณะผู้วิจัยที่ได้รับทุนสนับสนุนโครงการวิจัยเรื่อง “การพัฒนาผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ และทดสอบตลาดของธุรกิจหอย “แอเตาะ” มรดกภูมิปัญญาอาหาร เพื่อลดความเหลื่อมล้ำและสร้างความยั่งยืนของเศรษฐกิจให้แก่สตรีมุสลิมในอำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี”
คณะวิทยาการอิสลาม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
วิทยาเขตปัตตานี
ขอแสดงความยินดีกับคณะผู้วิจัยที่ได้รับทุนสนับสนุนโครงการวิจัยเรื่อง “การพัฒนาผลิตภัณฑ์
บรรจุภัณฑ์ และทดสอบตลาดของธุรกิจหอย “แอเตาะ” มรดกภูมิปัญญาอาหาร
เพื่อลดความเหลื่อมล้ำและสร้างความยั่งยืนของเศรษฐกิจให้แก่สตรีมุสลิมในอำเภอเมือง
จังหวัดปัตตานี”
คณะผู้วิจัย
(1) ดร.รุสลี
นุห์ (หัวหน้าโครงการวิจัย) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิทยาการอิสลาม
(2) ดร.หมะหมูด
หะยีหมัด (ผู้ร่วมวิจัย) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิทยาการอิสลาม
(3) ดร.สุรชัย
ไวยวรรณจิตร (ผู้ร่วมวิจัย) โรงเรียนเร๊าะมานีย๊ะห์
(4) นายมูฮำหมัดอามีน
หะยีหามะ (ผู้ร่วมวิจัย) มหาวิทยาลัยฟาฏอนี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
(5) นางมาเรียนา
แนกาบาร์ ผู้ร่วมวิจัย) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ
แหล่งทุน สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
เริ่มดำเนินโครงการ พฤษภาคม 2565 - พฤษภาคม
2566
ดูข่าวบนเว็บไซต์ fais.psu.ac.th/news/ขอแสดงความยินดีคณะผู้วิจัยที่ได้รับทุนสนับสนุนโครงการวิจัย-โครงการที่-5-ปีงบประมาณ-2565
คณะวิทยาการอิสลาม
ช่องทางการติดตาม
Facebook : https://www.facebook.com/FAIS.PSU.PN
Instagram : https://www.instagram.com/faispsu/
Website : https://fais.psu.ac.th/
คณะวิทยาการอิสลาม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ขอแสดงความยินดีกับคณะผู้วิจัยที่ได้รับทุนสนับสนุนโครงการวิจัย เรื่อง “การพัฒนาโรงเรียนต้นแบบด้านการสอนเพื่อพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 สำหรับโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในจังหวัดชายแดนภาคใต้”
คณะวิทยาการอิสลาม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
วิทยาเขตปัตตานี ขอแสดงความยินดีกับคณะผู้วิจัยที่ได้รับทุนสนับสนุนโครงการวิจัย
เรื่อง “การพัฒนาโรงเรียนต้นแบบด้านการสอนเพื่อพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 สำหรับโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในจังหวัดชายแดนภาคใต้”
คณะผู้วิจัย
- ผศ.ดร.
มูฮัมหมัดอาฟีฟี อัซซอลีฮีย์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิทยาการอิสลาม
(หัวหน้าโครงการ)
- ดร.
นัชชิมา บาเกาะ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา คณะครุศาสตร์
- ผศ.ดร.ยุโสบ
บุญสุข มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
- ผศ.ดร.
จารุวัจน์ สองเมือง มหาวิทยาลัยฟาฏอนี คณะศึกษาศาสตร์
แหล่งทุน Fundamental Fund (FF) สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ
(วช)
ประจำปีงบประมาณ 2565
เริ่มดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม
2564 - 30 กันยายน
2565
คณะวิทยาการอิสลาม
ช่องทางการติดตาม
Facebook : https://www.facebook.com/FAIS.PSU.PN
Instagram : https://www.instagram.com/faispsu/
Website : https://fais.psu.ac.th/
ขอเรียนเชิญนักวิจัยเข้าร่วมโครงการ Journal Club ภายใต้กิจกรรม Workshop : "Mastering the Art of Publishing in International Journals"
รายละเอียด