ข่าวสารล่าสุด
เชิญชวนนักวิจัยร่วมสร้างโปรไฟล์นักวิจัยกับโครงการ Research Talk ในหัวข้อ “แจ้งเกิดในแวดวงนักวิชาการ ด้วยการสร้าง Researcher Profile”
!!ศูนย์วิจัยวิทยาการอิสลามและมุสลิมศึกษา คณะวิทยาการอิสลาม ขอเชิญนักวิจัยและผู้สนใจเข้าร่วมโครงการ
Research Talk ครั้งที่ 1/2568 ในหัวข้อ “แจ้งเกิดในแวดวงนักวิชาการ ด้วยการสร้าง Researcher
Profile” โดย รองศาสตราจารย์ ดร.พลชาติ โชติการ
รองผู้อำนวยการสำนักวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นวิทยากร
กิจกรรมจะจัดขึ้นในวันพฤหัสบดีที่ 27 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 09.00-12.00 น. ณ ห้องประชุมอิมามฆอซาลีย์ ชั้น 2 คณะวิทยาการอิสลาม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
ผู้สนใจสามารถลงทะเบียนเข้าร่วมกิจกรรมได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายที่ https://link.psu.th/26Qw29
รีบๆสมัคร เพราะจำกัดเพียง 40 ที่นั่ง ในรูปแบบ Onsite เท่านั้น!!
ลิ้งค์ข่าวบนเว็บไซต์ https://fais.psu.ac.th/news/view/159
#fais #faispsu
#psu
#ResearchTalk
#คณะวิทยาการอิสลาม #วอส
#ครอบครัววอส
รายงานผลการดำเนินงาน ระหว่างปี 2561-2567
ได้แก่
เงินงบประมาณจากแหล่งทุนต่างๆ
ผลงานตีพิมพ์
ทุนวิจัยภายใน
#ศูนย์วิจัยวิทยาการอิสลามและมุสลิมศึกษา
แผนยุทธศาสตร์การวิจัยปี 2568
พร้อมเป็นศูนย์กลางด้านวิทยาการอิสลามที่ยึดหลักวะสะฏียะฮ์ เพื่อสังคมสันติสุข
ขอเชิญนักวิจัยเสนอชื่อและข้อมูลเพื่อขอรับรางวัล “งานคุณค่าสงขลานครินทร์ ประจำปี 2568”
รางวัล #คุณค่าสงขลานครินทร์ ประจำปี 2568
งาน “คุณค่าสงขลานครินทร์”
จะจัดขึ้นในวันที่ 13 มีนาคมของทุกปี
สำนักวิจัยและพัฒนาขอเชิญนักวิจัยเสนอชื่อและข้อมูลรางวัลเพื่อรับรางวัลคุณค่าประจำปี
2568 ใน 8 ประเภทรางวัล ประกอบด้วย
1. รางวัลนักวิจัยดีเด่นคณะ/หน่วยงาน (เสนอชื่อโดยคณะ/หน่วยงาน)
2. รางวัลผลงานวิจัยระดับชาติ
3. รางวัลผลงานวิจัยระดับนานาชาติ
4. รางวัลผลงานวิจัยนำเสนอในระดับชาติ
5. รางวัลผลงานวิจัยนำเสนอในระดับนานาชาติ
6. รางวัลค้นพบสิ่งใหม่ของโลกหรือสิ่งมีชีวิตใหม่ของโลก
7. รางวัลนักวิจัยที่ผลงานได้รับการรับรองมาตรฐานระดับสากล
8. รางวัลนักวิจัยที่ผลงานวิจัยนำไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์/นโยบาย/ชุมชนและสังคม
(รางวัลลำดับที่ 2 – 3 อาจารย์
นักวิจัย และบุคลากรดำเนินการกรอกผ่านแบบฟอร์ม,รางวัลลำดับที่
1 คณะต้องจัดทำหนังสือส่งผ่านคณะมายังสำนักวิจัยและพัฒนาก่อนวันที่
1 มกราคม 2568 )
เสนอชื่อและข้อมูลขอรับรางวัลได้
ตั้งแต่วันนี้ – 25 มกราคม
2568 (ก่อนเวลา 16.30 น. )
กรอกข้อมูล https://research.psu.ac.th/?p=22869
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ คุณเจนจิรา สมชาติ
Thailand Research Expo & Symposium 2025 สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ขอเชิญชวนนักวิจัย นักวิชาการ บัณฑิตศึกษา นิสิตและนักศึกษา ส่งบทความผลงานวิจัยเพื่อนำเสนอในงานมหกรรมวิจัยแห่งชาติ 2568 (Thailand Research Expo 2025)
ส่งบทความผลงานวิจัยเพื่อนำเสนอในงานมหกรรมวิจัยแห่งชาติ 2568 (Thailand Research Expo 2025) ทั้งภาคบรรยายและภาคโปสเตอร์ ภายใต้หัวข้อ....
การวิจัยด้านการแพทย์ และสาธารณสุข
การวิจัยด้านสังคม คุณภาพชีวิต และความมั่นคง
การวิจัยด้านการศึกษา
การวิจัยด้านศิลปวัฒนธรรม สถาปัตยกรรม
และการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์
การวิจัยด้านการเกษตร
พลังงานและสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับการเกษตร
การวิจัยด้านการส่งเสริมวิสาหกิจ ขนาดกลาง และขนาดย่อม
วิสาหกิจชุมชน และวิสาหกิจเริ่มต้น
þบทความผลงานวิจัยที่เสนอเข้ารับการพิจารณาจะต้องเป็นผลงานวิจัยที่ดำเนินการแล้วเสร็จ
ติดตามรายละเอียดข้อมูลได้ที่ https://researchexpo.nrct.go.th/main.php...
หมดเขต 28 มีนาคม 2568
ติดต่อสอบถาม กองส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยและนวัตกรรม
สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) 0 2561 2445 ต่อ 516
Thailand Research Expo & Symposium 2025 สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ขอเชิญชวนนักวิจัย นักวิชาการ บัณฑิตศึกษา นิสิตและนักศึกษา ส่งบทความผลงานวิจัยเพื่อนำเสนอในงานมหกรรมวิจัยแห่งชาติ 2568 (Thailand Research Expo 2025)
ส่งบทความผลงานวิจัยเพื่อนำเสนอในงานมหกรรมวิจัยแห่งชาติ 2568 (Thailand Research Expo 2025) ทั้งภาคบรรยายและภาคโปสเตอร์ ภายใต้หัวข้อ....
การวิจัยด้านการแพทย์ และสาธารณสุข
การวิจัยด้านสังคม คุณภาพชีวิต และความมั่นคง
การวิจัยด้านการศึกษา
การวิจัยด้านศิลปวัฒนธรรม สถาปัตยกรรม
และการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์
การวิจัยด้านการเกษตร
พลังงานและสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับการเกษตร
การวิจัยด้านการส่งเสริมวิสาหกิจ ขนาดกลาง และขนาดย่อม
วิสาหกิจชุมชน และวิสาหกิจเริ่มต้น
þบทความผลงานวิจัยที่เสนอเข้ารับการพิจารณาจะต้องเป็นผลงานวิจัยที่ดำเนินการแล้วเสร็จ
ติดตามรายละเอียดข้อมูลได้ที่ https://researchexpo.nrct.go.th/main.php...
หมดเขต 28 มีนาคม 2568
ติดต่อสอบถาม กองส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยและนวัตกรรม
สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) 0 2561 2445 ต่อ 516
วช. ประกาศรับข้อเสนอกิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยและนวัตกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566 (ด้านการจัดการความรู้การวิจัยและถ่ายทอดเพื่อการใช้ประโยชน์)
สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เป็นหน่วยงานหลักในการบริหารทุนวิจัย และนวัตกรรมของประเทศโดยมุ่งเน้นผลสำเร็จจากการวิจัย ที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในมิติต่างๆ ทั้งมิติด้านวิชาการ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคมและชุมชน และด้านนโยบาย เพื่อใช้เป็นกลไกในการพัฒนาและแก้ปัญหาเร่งด่วนสำคัญของประเทศ ภายใต้ยุทธศาสตร์ที่ 2 การยกระดับสังคมและสิ่งแวดล้อม ให้มีการพัฒนาอย่างยั่งยืน สามารถแก้ไขปัญหาท้าทาย และปรับตัวได้ทันต่อพลวัตการเปลี่ยนแปลงของโลก โดยใช้วิทยาศาสตร์ การวิจัยและนวัตกรรม ทั้งนี้ เพื่อให้การบริหารทุนวิจัยและนวัตกรรมของ วช. เป็นไปตามเป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ จึงได้กำหนดกรอบการวิจัยและนวัตกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566 เพื่อเปิดรับข้อเสนอการวิจัยและนวัตกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566 ดังนี้
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การยกระดับสังคมและสิ่งแวดล้อม ให้มีการพัฒนาอย่างยั่งยืน สามารถแก้ไขปัญหาท้าทาย และปรับตัวได้ทันต่อพลวัตการเปลี่ยนแปลงของโลก โดยใช้วิทยาศาสตร์ การวิจัยและนวัตกรรม | |||||
การจัดการความรู้การวิจัยและถ่ายทอดเพื่อการใช้ประโยชน์ | |||||
1. การจัดการความรู้การวิจัยและถ่ายทอดเพื่อการใช้ประโยชน์เชิงความมั่นคง 2. การจัดการความรู้การวิจัยและถ่ายทอดเพื่อการใช้ประโยชน์เชิงชุมชน สังคม 3. การจัดการความรู้การวิจัยและถ่ายทอดเพื่อการพัฒนาชุมชนพึ่งตนเองตามแนวพระราชดำริ 4. การจัดการความรู้การวิจัยและถ่ายทอดเพื่อการใช้ประโยชน์เชิงนโยบายสาธารณะ |
ผู้สนใจสามารถยื่นข้อเสนอในระบบ NRIIS
ตั้งแต่วันที่ 12 มิถุนายน 2565 - 11 สิงหาคม 2565 เวลา 18.00 น.
* นักวิจัยและผู้ร่วมวิจัยทุกคน ต้องยืนยันการเข้าร่วมการทำวิจัย ภายในวันที่ 11 สิงหาคม 2565 เวลา 18.00 น.
** หน่วยงานต้นสังกัดของนักวิจัย ต้องรับรองข้อเสนอการวิจัยและนวัตกรรม ภายในวันที่ 18 สิงหาคม 2565 เวลา 18.00 น.
*** วช. จะประกาศผลการพิจารณาข้อเสนอการวิจัยและนวัตกรรมที่ผ่านการพิจารณาเบื้องต้นทางเว็บไซต์ www.nrct.go.th และ https://nriis.go.th
Download เอกสารประกาศที่เกี่ยวข้อง
1.ประกาศรับข้อเสนอการวิจัยและนวัตกรรม 2566
2.ขอบเขตการวิจัย-การจัดการความรู้การวิจัย (KM)
สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) เปิดรับข้อเสนอการวิจัยและนวัตกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566
สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เป็นหน่วยงานหลักในการบริหารทุนวิจัย และนวัตกรรมของประเทศโดยมุ่งเน้นผลสำเร็จจากการวิจัย ที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในมิติต่างๆ ทั้งมิติด้านวิชาการ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคมและชุมชน และด้านนโยบาย เพื่อใช้เป็นกลไกในการพัฒนาและแก้ปัญหาเร่งด่วนสำคัญของประเทศ ภายใต้ยุทธศาสตร์ที่ 2 การยกระดับสังคมและสิ่งแวดล้อม ให้มีการพัฒนาอย่างยั่งยืน สามารถแก้ไขปัญหาท้าทาย และปรับตัวได้ทันต่อพลวัตการเปลี่ยนแปลงของโลก โดยใช้วิทยาศาสตร์ การวิจัยและนวัตกรรม และยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนากำลังคนและสถาบันด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมให้เป็นฐานการขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศแบบก้าวกระโดดและอย่างยั่งยืน โดยใช้วิทยาศาสตร์ การวิจัยและนวัตกรรม ทั้งนี้ เพื่อให้การบริหารทุนวิจัยและนวัตกรรมของ วช. เป็นไปตามเป้าประสงค์ของทั้ง 2 ยุทธศาสตร์ จึงได้กำหนดกรอบการวิจัยและนวัตกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566 เพื่อเปิดรับข้อเสนอการวิจัยและนวัตกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566 ดังนี้
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การยกระดับสังคมและสิ่งแวดล้อม ให้มีการพัฒนาอย่างยั่งยืน สามารถแก้ไขปัญหาท้าทายและปรับตัวได้ทันต่อพลวัตการเปลี่ยนแปลงของโลก โดยใช้วิทยาศาสตร์ การวิจัยและนวัตกรรม | |||||
| |||||
| |||||
| |||||
| |||||
| |||||
| |||||
| |||||
ยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนากำลังคนและสถาบันด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ให้เป็นฐานการขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศแบบก้าวกระโดดและอย่างยั่งยืน โดยใช้วิทยาศาสตร์ การวิจัยและนวัตกรรม | |||||
|
ผู้สนใจสามารถยื่นข้อเสนอในระบบ NRIIS
ตั้งแต่วันที่ 12 มิถุนายน 2565 - 11 สิงหาคม 2565 ภายในเวลา 18.00 น.
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย (R2R) สำหรับบุคลากรสายอำนวยการ คณะวิทยาการอิสลาม”
โอกาสพิเศษสำหรับบุคลากรสายอำนวยการ! เปลี่ยนงานประจำให้เป็นงานวิจัย กับโครงการวิจัย R2R #วิเคราะห์ปัญหาจากงานประจำและพัฒนาเป็นงานวิจัยได้
ศูนย์วิจัยวิทยาการอิสลามและมุสลิมศึกษา
คณะวิทยาการอิสลาม ขอเชิญบุคลากรสายอำนวยการ คณะวิทยาการอิสลาม
และโรงเรียนสาธิตวิทยาการอิสลาม เข้าร่วม โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง
“การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย (R2R) สำหรับบุคลากรสายอำนวยการ
คณะวิทยาการอิสลาม” โดยกิจกรรมครั้งนี้จะสามารถทำให้ท่านวิเคราะห์ปัญหาในงานประจำและพัฒนาเป็นงานวิจัยได้อย่างมีคุณภาพ
และยังสามารถเขียนโครงร่างงานวิจัยจากงานประจำหน้าเดียว (One-sheet R2R
Proposal)
Fวิทยากรหลักโดย
รศ.ดร.มูฮัมหมัดอาฟีฟี อัซซอลีฮีย์ รองคณบดีฝ่ายวิจัยและผู้อำนวยการโรงเรียนสาธิตวิทยาการอิสลาม
คณะวิทยาการอิสลาม ม.อ.ปัตตานี
โดยหลักสูตร/การอบรมมี
3
ครั้งได้แก่
2ครั้งที่ 1
หลักสูตร/เนื้อหาการอบรม "ตีโจทย์และพัฒนาหัวข้อ
การออกแบบการวิจัย" Fวิทยากรโดย
รศ.ดร.มูฮัมหมัดอาฟีฟี อัซซอลีฮีย์ รองคณบดีฝ่ายวิจัยและผู้อำนวยการโรงเรียนสาธิตวิทยาการอิสลาม
คณะวิทยาการอิสลาม ม.อ.ปัตตานี วันที่ 10 กุมภาพันธ์
2568 เวลา 13.30-16.30 น. ณ
ห้องประชุมอิมาม อัล-ฆอซาลีย์ คณะวิทยาการอิสลาม
2ครั้งที่ 2
หลักสูตร/เนื้อหาการอบรม "การวิเคราะห์ Pain Point การเขียนและร้อยเรียงที่มาและความสำคัญ การเขียนวิธีการวิจัย และงบประมาณ"
Fวิทยากรโดย รศ.ดร.มูฮัมหมัดอาฟีฟี
อัซซอลีฮีย์ รองคณบดีฝ่ายวิจัยและผู้อำนวยการโรงเรียนสาธิตวิทยาการอิสลาม
คณะวิทยาการอิสลาม ม.อ.ปัตตานี วันที่ 24 กุมภาพันธ์
2568 เวลา 13.30-16.30 น. ณ
ห้องประชุมอิมาม อัล-บุคอรีย์ คณะวิทยาการอิสลาม
2ครั้งที่ 3
หลักสูตร/เนื้อหาการอบรม "นำเสนอและวิพากษ์
โดยผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาคุณภาพข้อเสนอโครงการ" วันที่ 10-12 เมษายน 2568 โดยผู้ทรงคุณวุฒิ 3 ท่าน ได้แก่
1. รศ.ดร.มูฮัมหมัดอาฟีฟี อัซซอลีฮีย์
รองคณบดีฝ่ายวิจัยและผู้อำนวยการโรงเรียนสาธิตวิทยาการอิสลาม คณะวิทยาการอิสลาม
ม.อ.ปัตตานี
2. ผศ.ดร.รุสลี นุห์
รองคณบดีฝ่ายยุทธศาสตร์และพันธกิจเพื่อสังคม คณะวิทยาการอิสลาม ม.อ.ปัตตานี
3. นายสันติ เส็นหมาน
นักวิชาการอุดมศึกษาชำนาญการ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ม.อ.ปัตตานี
สามารถลงทะเบียนเข้าร่วมโครงการได้ที่
https://link.psu.th/Hch9Ap
ย้ำ!!
รับเฉพาะบุคลากรสายอำนวยการ คณะวิทยาการอิสลาม และโรงเรียนสาธิตวิทยาการอิสลาม
เท่านั้น
ลิ้งค์ข่าวบนเว็บไซต์
https://fais.psu.ac.th/news/view/165
#fais #faispsu #psu #ResearchTalk
#คณะวิทยาการอิสลาม
#วอส #ครอบครัววอส
เชิญชวนนักวิจัยร่วมสร้างโปรไฟล์นักวิจัยกับโครงการ Research Talk ในหัวข้อ “แจ้งเกิดในแวดวงนักวิชาการ ด้วยการสร้าง Researcher Profile”
!!ศูนย์วิจัยวิทยาการอิสลามและมุสลิมศึกษา คณะวิทยาการอิสลาม ขอเชิญนักวิจัยและผู้สนใจเข้าร่วมโครงการ
Research Talk ครั้งที่ 1/2568 ในหัวข้อ “แจ้งเกิดในแวดวงนักวิชาการ ด้วยการสร้าง Researcher
Profile” โดย รองศาสตราจารย์ ดร.พลชาติ โชติการ
รองผู้อำนวยการสำนักวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นวิทยากร
กิจกรรมจะจัดขึ้นในวันพฤหัสบดีที่ 27 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 09.00-12.00 น. ณ ห้องประชุมอิมามฆอซาลีย์ ชั้น 2 คณะวิทยาการอิสลาม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
ผู้สนใจสามารถลงทะเบียนเข้าร่วมกิจกรรมได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายที่ https://link.psu.th/26Qw29
รีบๆสมัคร เพราะจำกัดเพียง 40 ที่นั่ง ในรูปแบบ Onsite เท่านั้น!!
ลิ้งค์ข่าวบนเว็บไซต์ https://fais.psu.ac.th/news/view/159
#fais #faispsu
#psu
#ResearchTalk
#คณะวิทยาการอิสลาม #วอส
#ครอบครัววอส
รายงานผลการดำเนินงาน ระหว่างปี 2561-2567
ได้แก่
เงินงบประมาณจากแหล่งทุนต่างๆ
ผลงานตีพิมพ์
ทุนวิจัยภายใน
#ศูนย์วิจัยวิทยาการอิสลามและมุสลิมศึกษา
แผนยุทธศาสตร์การวิจัยปี 2568
พร้อมเป็นศูนย์กลางด้านวิทยาการอิสลามที่ยึดหลักวะสะฏียะฮ์ เพื่อสังคมสันติสุข
ขอเชิญนักวิจัยเสนอชื่อและข้อมูลเพื่อขอรับรางวัล “งานคุณค่าสงขลานครินทร์ ประจำปี 2568”
รางวัล #คุณค่าสงขลานครินทร์ ประจำปี 2568
งาน “คุณค่าสงขลานครินทร์”
จะจัดขึ้นในวันที่ 13 มีนาคมของทุกปี
สำนักวิจัยและพัฒนาขอเชิญนักวิจัยเสนอชื่อและข้อมูลรางวัลเพื่อรับรางวัลคุณค่าประจำปี
2568 ใน 8 ประเภทรางวัล ประกอบด้วย
1. รางวัลนักวิจัยดีเด่นคณะ/หน่วยงาน (เสนอชื่อโดยคณะ/หน่วยงาน)
2. รางวัลผลงานวิจัยระดับชาติ
3. รางวัลผลงานวิจัยระดับนานาชาติ
4. รางวัลผลงานวิจัยนำเสนอในระดับชาติ
5. รางวัลผลงานวิจัยนำเสนอในระดับนานาชาติ
6. รางวัลค้นพบสิ่งใหม่ของโลกหรือสิ่งมีชีวิตใหม่ของโลก
7. รางวัลนักวิจัยที่ผลงานได้รับการรับรองมาตรฐานระดับสากล
8. รางวัลนักวิจัยที่ผลงานวิจัยนำไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์/นโยบาย/ชุมชนและสังคม
(รางวัลลำดับที่ 2 – 3 อาจารย์
นักวิจัย และบุคลากรดำเนินการกรอกผ่านแบบฟอร์ม,รางวัลลำดับที่
1 คณะต้องจัดทำหนังสือส่งผ่านคณะมายังสำนักวิจัยและพัฒนาก่อนวันที่
1 มกราคม 2568 )
เสนอชื่อและข้อมูลขอรับรางวัลได้
ตั้งแต่วันนี้ – 25 มกราคม
2568 (ก่อนเวลา 16.30 น. )
กรอกข้อมูล https://research.psu.ac.th/?p=22869
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ คุณเจนจิรา สมชาติ
ขอเรียนเชิญนักวิจัยเข้าร่วมโครงการ Journal Club ภายใต้กิจกรรม Workshop : "Mastering the Art of Publishing in International Journals"
ข่าวแสดงความยินดี
ขอแสดงความยินดีกับนักวิจัยคนเก่งคณะวิทยาการอิสลาม สำหรับบทความที่ได้รับการตีพิมพ์ SCOPUS Q3
ขอแสดงความยินดีกับ #นักวิจัยคนเก่ง ทั้ง 2 ท่าน
สำหรับบทความที่ได้รับการตีพิมพ์ SCOPUS Q3
Asst. Prof.Nachima Bakoh
Yala Rajabhat University, Yala, Thailand (YRU.Yala)
Assoc. Prof. Dr. Muhammadafeefee Assalihee
Prince
of Songkla University, Pattani Campus, Pattani, Thailand (PSU.Pattani)
þ JOURNAL: The Journal of
Behavioral Science (TJBS)
þ RESEARCH ARTICLE:
The Role of Learning in Self-Management, Family Coping, and Financial Security
among Muslim Families in Southern Thailand: A Structural Equation
ModelingAnalysis
โดยสามารถอ่านผลงานฉบับเต็มได้ที่
https://so06.tci-thaijo.org/.../article/view/279989/187631
ขอแสดงความยินดีกับขอแสดงความยินดีกับนักวิจัยคนเก่งคณะวิทยาการอิสลาม ที่ได้รับการตีพิมพ์ SCOPUS Q3
ขอแสดงความยินดีกับ #นักวิจัยคนเก่ง คณะวิทยาการอิสลาม
สำหรับผลงานตีพิมพ์
SCOPUS Q3
Dr.Mohamed Soliman
Mohamed Soliman
Prince of Songkla University, Pattani Campus,
Pattani, Thailand (PSU.Pattani)
พร้อมทีม ซึ่งประกอบด้วย
1. Assoc. Prof. Dr.
Muhammadafeefee Assalihee
Prince of Songkla University, Pattani Campus,
Pattani, Thailand (PSU.Pattani)
2. Asst. Prof.
Dr.Muhammad R. Weahama
Prince of Songkla University, Pattani Campus,
Pattani, Thailand (PSU.Pattani)
3. Reham Adel Ali
Faculty of Computer Science and IT, Ahram Canadian
University, Cairo, Egypt (ACU. Cairo)
þ JOURNAL: International Journal of
Information and Education Technology
þ RESEARCH ARTICLE: Predicting Continuous Intention
to Use e-Learning Platforms among University Students: An Integrated Model
โดยสามารถอ่านผลงานฉบับเต็มได้ที่
https://www.ijiet.org/show-212-2844-1.html
อีกหนึ่งความภาคภูมิใจของคณะวิทยาการอิสลาม ที่สามารถผลิตนักวิจัยรุ่นใหม่ ได้ต่อเนื่องทุกปี
ขอแสดงความยินดีกับ ดร.อศัส วรสูตร ที่ได้การสนับสนุนทุนพัฒนาศักยภาพในการทำงานวิจัยของอาจารย์รุ่นใหม่ ประจำปีงบประมาณ 2568 (สาขาสังคมศาสตร์)
คณะวิทยาการอิสลาม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ขอแสดงความยินดีกับคณะผู้วิจัยที่ได้รับทุนพัฒนาศักยภาพในการทำงานวิจัยของอาจารย์รุ่นใหม่ ประจำปีงบประมาณ 2568 (สาขาสังคมศาสตร์) ชื่อโครงการ “การวิเคราะห์เชิงวิพากษ์ของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเข้าถึงบริการทางการเงินอิสลามสำหรับ วิสาหกิจขนาดลางและขนาดย่อมของผู้ประกอบการมุสลิมในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ของประเทศไทย”
ผู้วิจัย : ดร.อศัส วรสูตร อาจารย์สาขาวิชานวัตกรรมธุรกิจอิสลาม คณะวิทยาการอิสลาม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
ประเภททุน : ทุนพัฒนาศักยภาพในการทำงานวิจัยของอาจารย์รุ่นใหม่
ประจำปีงบประมาณ 2568 (สาขาสังคมศาสตร์)
แหล่งทุน : สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
ดูข่าวบนเว็บไซต์: https://fais.psu.ac.th/news/view/146
#fais #faispsu #psu #วิจัย #ทุนวิจัย #คณะวิทยาการอิสลาม #วอส #ครอบครัววอส #iampsu #youarePSU #WeArePSU
ขอแสดงความยินดีกับนักวิจัยคนเก่งคณะวิทยาการอิสลาม ที่ได้รับการตีพิมพ์ SCOPUS Q2
ขอแสดงความยินดีกับ #นักวิจัยคนเก่ง #คณะวิทยาการอิสลาม
Dr.Mohamed Soliman Mohamed Soliman
Prince of Songkla University, Pattani Campus,
Pattani, Thailand (PSU.Pattani)
พร้อมทีม ซึ่งประกอบด้วย
1. Reham Adel Ali
Faculty of Computer Science and IT, Ahram
Canadian University, Cairo, Egypt (ACU. Cairo)
2. Jamshed Khalid
Nanjing University of Aeronautics and
Astronautics, Nanjing, China (NUAA.Nanjing)
3. Imran Mahmud
Department of Software Engineering, Daffodil
International University, Dhaka, Bangladesh (DIU.Dhaka)
4. Wanamina Bostan Ali
Faculty of Management Sciences, Prince of
Songkla University, Hatyai Campus, Songkla, Thailand (PSU.Hatyai)
ที่ได้รับการตีพิมพ์ SCOPUS
Q1 (CiteScore 14.5) & Web of Science Q1 (Impact Factor 4.3)
JOURNAL: Journal of Computers in Education
RESEARCH ARTICLE: Modelling continuous
intention to use generative artificial intelligence as an educational tool
among university students: findings from PLS-SEM and ANN
โดยสามารถอ่านผลงานฉบับเต็มได้ที่
https://link.springer.com/article/10.1007/s40692-024-00333-y
ขอแสดงความยินดีกับนักวิจัยคนเก่ง คณะวิทยาการอิสลาม ที่ได้รับการตีพิมพ์ SCOPUS Q1
ขอแสดงความยินดีกับ #นักวิจัยคนเก่ง #คณะวิทยาการอิสลาม
Dr.Mohamed Soliman Mohamed Soliman
Prince of Songkla University, Pattani Campus,
Pattani, Thailand (PSU.Pattani)
พร้อมทีม ซึ่งประกอบด้วย
1. Reham Adel Ali
Faculty of Computer Science and IT, Ahram
Canadian University, Cairo, Egypt (ACU. Cairo)
2. Jamshed Khalid
Nanjing University of Aeronautics and
Astronautics, Nanjing, China (NUAA.Nanjing)
3. Imran Mahmud
Department of Software Engineering, Daffodil
International University, Dhaka, Bangladesh (DIU.Dhaka)
4. Wanamina Bostan Ali
Faculty of Management Sciences, Prince of
Songkla University, Hatyai Campus, Songkla, Thailand (PSU.Hatyai)
ที่ได้รับการตีพิมพ์ SCOPUS
Q1 (CiteScore 14.5) & Web of Science Q1 (Impact Factor 4.3)
JOURNAL: Journal of Computers in Education
RESEARCH ARTICLE: Modelling continuous
intention to use generative artificial intelligence as an educational tool
among university students: findings from PLS-SEM and ANN
โดยสามารถอ่านผลงานฉบับเต็มได้ที่
https://link.springer.com/article/10.1007/s40692-024-00333-y
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย (R2R) สำหรับบุคลากรสายอำนวยการ คณะวิทยาการอิสลาม”
โอกาสพิเศษสำหรับบุคลากรสายอำนวยการ! เปลี่ยนงานประจำให้เป็นงานวิจัย กับโครงการวิจัย R2R #วิเคราะห์ปัญหาจากงานประจำและพัฒนาเป็นงานวิจัยได้
ศูนย์วิจัยวิทยาการอิสลามและมุสลิมศึกษา คณะวิทยาการอิสลาม ขอเชิญบุคลากรสายอำนวยการ คณะวิทยาการอิสลาม และโรงเรียนสาธิตวิทยาการอิสลาม เข้าร่วม โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย (R2R) สำหรับบุคลากรสายอำนวยการ คณะวิทยาการอิสลาม” โดยกิจกรรมครั้งนี้จะสามารถทำให้ท่านวิเคราะห์ปัญหาในงานประจำและพัฒนาเป็นงานวิจัยได้อย่างมีคุณภาพ และยังสามารถเขียนโครงร่างงานวิจัยจากงานประจำหน้าเดียว (One-sheet R2R Proposal)
Fวิทยากรหลักโดย รศ.ดร.มูฮัมหมัดอาฟีฟี อัซซอลีฮีย์ รองคณบดีฝ่ายวิจัยและผู้อำนวยการโรงเรียนสาธิตวิทยาการอิสลาม คณะวิทยาการอิสลาม ม.อ.ปัตตานี
โดยหลักสูตร/การอบรมมี 3 ครั้งได้แก่
2ครั้งที่ 1 หลักสูตร/เนื้อหาการอบรม "ตีโจทย์และพัฒนาหัวข้อ การออกแบบการวิจัย" Fวิทยากรโดย รศ.ดร.มูฮัมหมัดอาฟีฟี อัซซอลีฮีย์ รองคณบดีฝ่ายวิจัยและผู้อำนวยการโรงเรียนสาธิตวิทยาการอิสลาม คณะวิทยาการอิสลาม ม.อ.ปัตตานี วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 13.30-16.30 น. ณ ห้องประชุมอิมาม อัล-ฆอซาลีย์ คณะวิทยาการอิสลาม
2ครั้งที่ 2 หลักสูตร/เนื้อหาการอบรม "การวิเคราะห์ Pain Point การเขียนและร้อยเรียงที่มาและความสำคัญ การเขียนวิธีการวิจัย และงบประมาณ" Fวิทยากรโดย รศ.ดร.มูฮัมหมัดอาฟีฟี อัซซอลีฮีย์ รองคณบดีฝ่ายวิจัยและผู้อำนวยการโรงเรียนสาธิตวิทยาการอิสลาม คณะวิทยาการอิสลาม ม.อ.ปัตตานี วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 13.30-16.30 น. ณ ห้องประชุมอิมาม อัล-บุคอรีย์ คณะวิทยาการอิสลาม
2ครั้งที่ 3 หลักสูตร/เนื้อหาการอบรม "นำเสนอและวิพากษ์ โดยผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาคุณภาพข้อเสนอโครงการ" วันที่ 10-12 เมษายน 2568 โดยผู้ทรงคุณวุฒิ 3 ท่าน ได้แก่
1. รศ.ดร.มูฮัมหมัดอาฟีฟี อัซซอลีฮีย์ รองคณบดีฝ่ายวิจัยและผู้อำนวยการโรงเรียนสาธิตวิทยาการอิสลาม คณะวิทยาการอิสลาม ม.อ.ปัตตานี
2. ผศ.ดร.รุสลี นุห์ รองคณบดีฝ่ายยุทธศาสตร์และพันธกิจเพื่อสังคม คณะวิทยาการอิสลาม ม.อ.ปัตตานี
3. นายสันติ เส็นหมาน นักวิชาการอุดมศึกษาชำนาญการ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ม.อ.ปัตตานี
สามารถลงทะเบียนเข้าร่วมโครงการได้ที่ https://link.psu.th/Hch9Ap
ย้ำ!! รับเฉพาะบุคลากรสายอำนวยการ คณะวิทยาการอิสลาม และโรงเรียนสาธิตวิทยาการอิสลาม เท่านั้น
ลิ้งค์ข่าวบนเว็บไซต์ https://fais.psu.ac.th/news/view/165
#fais #faispsu #psu #ResearchTalk
#คณะวิทยาการอิสลาม #วอส #ครอบครัววอส
#iampsu #youarePSU #WeArePSU
รายละเอียด